กลับไปยังคำถาม บททดสอบความตั้งใจ
ถามคำถาม

ในคำตอบ

รู้ป่ะ ว่าการทดสอบนั้น มันเป็นการทดสอบความเข้มแข็งของจิตใจ และปณิธานที่ตั้งไว้นะ ว่าจะเข้มแข็งเพียงใด ไม่ใช่ว่า แค่ทำได้หนึ่งครั้ง แล้วคิดว่าตนเองทำผ่านนั้น มันคงไม่ใช่ เพราะว่า ถ้าคิดว่าทำผ่าน ถ้าอีกครั้งมีมาอีก แล้วทำไม่ได้ล่ะ นั่นไง ดังนั้น จึงต้องเกิดการทดสอบสภาพจิตใจของคนเราให้เข้มแข็งขึ้น เพือสร้างภูมิต้านทานทางด้านจิตใจ กำลังใจให้มนุษย์ผู้นั้นได้เป็นอย่างดี ว่าคราวต่อไป หากเจอผลกระทบแบบนี้อีก ถ้าเราทำได้ ทนได้ต่อไปเรื่อยๆ ต่อไป เมื่อพลังใจของเราเข้มแข็ง เจออะไรมากระทบ เราก็จะได้เฉยๆ ไม่หวั่นไหวไปกับมันไงล่ะ ขอยกตัวอย่าง เช่น เรื่องพระเวสสันดรไง พระเวสสันดรท่านให้ทาน ทานคนมากๆ ชูชกจึงเป็นตัวทดสอบว่า ถ้าขอแม้กระทั่ง พระราชบุตร พระราชธิดาจะได้หรือไม่? ขอในสิ่งที่คนธรรมดาเรานั้น ถ้าเคยให้มาแล้ว คงจะให้ครั้งนี้ได้ยากยิ่ง แต่พระเวสสันดรท่านทรงกระทำได้ ทรงประทานพระราชบุตร พระราชธิดาได้ เพราะพระองค์ท่านมีปณิธานที่แน่วแน่ในการให้ เพื่อสร้างบุญกุศล ยึดถือยึดมั่นในการทำความดี ในการสร้างบุญกุศล จึงไม่หวั่นไหวต่อสิ่งใด หรือ อย่างเช่นเรา ถ้าให้เพือนยืมเงิน ตั้งใจช่วยเหลือเพือน เพื่อให้พ้นจากความยากจน แต่เพื่อนก็ยังแวะมารบกวนยืมเงินอยู่บ่อยๆ ยืมเป็น 40-50 ครั้ง คือ เพื่อนจนจริงๆ เดือดร้อนจริงๆ ครั้งแรกๆ ที่ให้เพืือนยืมน่ะ คราวต่อไป พลังใจของเรา จะให้เพื่อนได้อีกหรือไม่ ในเมื่อเพืือนรบกวนไม่หยุดหย่อน เป็นต้น

+1 โหวต · 1 ตอบกลับ

เราพยายามอยู่นะ พยายามที่จะไม่มีความรู้สึกบวกหรือลบต่อเขา ต่อชื่อของเขา ต่อไปวันกน้าพบเจอก็จะพูดเรื่องงาน และหากเขากระตุ้นให้เรากงุดหงิดก็พยายามบอกตัวเองว่าให้หยุดโดยเร็วที่สุด

.

ช่วงนี้เรากับเขาก็ไม่ค่อยได้พบเจอกันหรอก เราไม่ได้อยู่ฝ่ายเดียวกัน การพบแล้วมีจิตหงุดหงิดต่อเขาเหมือนแรงกรรมดึงให้มาใกล้กัน คิดดีต่อกันกรรมดีก็ดึงมาใกล้ คิดลบต่อกันกรรมร้ายก็ดึงมาใกล้

ถ้าร้ายกันไปร้ายกันมากรรมไม่ดีก็ไม่หยุด เราคิดว่าถ้าเขาทำให้เรารู้สึกบวกต่อกันไม่ได้ เราจะเป็นฝ่ายทำให้ไม่มีความรู้สึกต่อเขา ทั้งบวกและลบดีกว่า ประมาณว่าทำใจให้นิ่ง ให้เป็นกลาง มัชฌิมาไปเลย

.

คุณคิดว่ายังไง??

+0 โหวต

ความคิดเห็นของคุณ

(ไม่บังคับ)

เพื่อรับการแจ้งเตือนเมื่อมีการตอบกลับ

คำถามที่คุณอาจจะสนใจ