กลับไปยังคำถาม กระทู้ฟื้นคืนชีพ....'' ทำไมท้องฟ้า ถึงเป็นสีฟ้า..?? ''
ถามคำถาม

ในคำตอบ

เพราะว่าโลกมีชั้นบรรยากาศ ชั้นบรรยกาศที่ 5 ชั้น ชั้นที่อยู่ไกล้เรามากที่สุดมีเมฆ นอนกนั้นไม่มีเมฆ แต่ว่า สามชั้นสุดท้ายมีก็ซโอโซนหน่าแน่น เมื่อแสงอาทิตย์ส่องมายังโลกผ่านชั้นบรรยากาศต่างๆ ก็จะมีการสะท้อนรังสีกับไปมากน้อยต่างกัน ซึ่งในโอโซนจะสีฟ้าอยู่มาก

แสงที่มาจากดวงอาทิตย์ปกติเป็นแสงสีขาวแต่จริงๆ แล้วประกอบด้วยแสงสีต่างๆ หลายสี คือ สีม่วง สีคราม สีน้ำเงิน สีเขียว สีเหลือง สีแสด และสีแดง ซึ่งเราสามารถมองเห็นแสงสีต่างๆ เหล่านี้ตอนเราเห็นรุ้งกินน้ำ แสงจากดวงอาทิตย์เมื่อเคลื่อนที่ผ่านชั้นบรรยากาศของโลก จะวิ่งชนโมเลกุลของก๊าซ ฝุ่นละอองและหยดน้ำ ซึ่งปกติจะทำให้แสงสีฟ้ากระจายตัวไปทั่วท้องฟ้าได้ดีกว่าแสงสีอื่น จึงทำให้เรามองเห็นท้องฟ้าเป็นสีฟ้า ขบวนการที่ทำให้เราเห็นท้องฟ้าเป็นสีฟ้าเรียกว่า เรย์เลห์ สแคตเตอริง (Rayleigh scattering) ซึ่งเรียกตามชื่อของนักฟิสิกส์ที่ชื่อ จอห์น เรย์เลห์ ซึ่งเป็นผู้ที่อธิบายขบวนการนี้เป็นคนแรกในปี ค.ศ. 1870

ปล.คำตอบหลังมาจาก สวทช ลอกเขามา

+6 โหวต · 1 ตอบกลับ

ขอบคุณครับ

นี่ล่ะ คำตอบแบบมีสาระของจริง ^^

+0 โหวต

ความคิดเห็นของคุณ

(ไม่บังคับ)

เพื่อรับการแจ้งเตือนเมื่อมีการตอบกลับ