คำถาม
ถามคำถาม

ผมสงสัยว่าทำไมเรือเดินมหาสมุทรที่มีขนาดใหญ่ๆ ถึงไม่จม

ทั้งๆ ที่มีขนาดใหญ่และมีน้ำหนักเกือบแสนตันสำหรับเรือในปัจจุบัน เขาใช้หลักการหรือวิธีใดในการคำนวณเพื่อให้เรือลอยได้ การกระจายน้ำหนักหรือความหนาแน่นของเรือหรือ

ลิ้งข้างล่างเป็นตัวอย่างเรือในอดีตที่หนักกว่า 5 หมื่น ตัน

http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%AD%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B9%8C%E0%B9%80%E0%B8%AD%E0%B9%87%E0%B8%A1%E0%B9%80%E0%B8%AD%E0%B8%AA_%E0%B9%84%E0%B8%97%E0%B8%97%E0%B8%B2%E0%B8%99%E0%B8%B4%E0%B8%81

4 คำตอบ · +0 โหวต · 0 รายการโปรด · 407 อ่านแล้ว

Buoyant Force หรือแรงลอยตัว

Center of Gravity หรือจุดศูนย์ถ่วง

และความถ่วงจำเพาะ

ความหนาแน่น

นี่คือใจหลักของการออกแบบครับ

อธิบายง่ายๆคือ จากความหนาแน่นให้เห็นนะครับ ของอะไรที่ความหนาแน่นมากกว่าน้ำจะจม ความหนาแน่นน้อยกว่าน้ำจะลอย ความหนาแน่นคือ มวล/ปริมาตร

ทีนี้เราจะสังเกตุเห็นว่า ถ้ามวลคงที ปริมาตรเพิ่มขึ้น ความหนาแน่นจะลดลง

แล้วเรือหนัก 1หมื่นตัน ทำไมลอย?

ก็เพราะเขาเพิ่มปริมาตรให้มันครับ คือถ้าเอาเหล็กตัน 1หมื่นตัน(คงประมาณสี่เหลี่ยมจตุรัส 10*10*10 m.) มาไว้ในน้ำ

แน่นอนมันจะจม ลองคำนวณดู ได้ความหนาแน่น = 1kton/(10*10*10)= 10,000 kg/m^3 มากกว่าน้ำ ก็จมครับ

เราต้องเพิ่มปริมาตรให้มันครับ เช่นเพิ่มความยาวเป็น100m. สูง15 m. กว้าง10m. แค่นี้ปริมาตรมันก็เพิ่มขึ้นเยอะมากแล้วครับ

เราจะได้ความหนาแน่น = 667 kg/m^3 ซึ่งน้อยกว่าน้ำที่ 1000 kg/m^3 เรือลำนี้จะลอยได้แล้วครับ

+3 โหวต · 0 ตอบกลับ

มีเครื่องสูบน้ำเยอะ ระบายน้ำออกทันมั่งครับ

+0 โหวต · 0 ตอบกลับ

ราะเจับตั้งและโครงสร้างเกิดมวลเบากว่าน้ำ ลองจับคว่ำดูดิ รับรองมีแต่ จม ^^"

+0 โหวต · 0 ตอบกลับ

ผมว่าลองพาเรือล่องไปเฉี่ยวหินโสโครกใต้น้ำแรง ๆ แม้ว่าเรือสมัยใหม่จะบุตัวเรือหนาก็ตาม

ใครจะรู้อาจกลายเป็นไททานิค ๒ ก็ได้ เรื่องนี้ผมคาดหวังเองอาจไม่เป็นอย่างที่ผมคิดก็ได้ครับ

+0 โหวต · 0 ตอบกลับ

คำตอบของคุณ

(ไม่บังคับ)

เพื่อรับการแจ้งเตือนเมื่อมีการตอบกลับ